Category: กฎหมายธุรกิจ

การค้าระหว่างประเทศโดยปราศจากการจัดจำหน่ายในประเทศไทย

นอกจากจะเป็นสถานที่ใช้ประกอบธุรกิจแล้ว บริษัทต่างชาติยังเลือกประเทศไทยเป็นเขตอำนาจศาลเพื่อก่อตั้งธุรกิจ โดยไม่มีการประกอบธุรกิจอย่างแท้จริงในบางกรณี เหตุผลที่บริษัทต่างชาติต้องการก่อตั้งบริษัทตนในประเทศไทย แต่ประกอบธุรกิจที่อื่นนั้น หลากหลายและซับซ้อน และอาจเกี่ยวข้องกับกฎหมายการประกอบธุรกิจของไทยเหนือเขตอำนาจศาลอื่น หรือเพียงเพราะทำเลที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยนั้นเป็นศูนย์กลาง

อ่านต่อไป

การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบริษัทภายใต้กฎหมายไทย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แห่งประเทศไทย ได้จัดให้มีการจัดตั้งห้างหุ้นส่วนเช่นเดียวกับที่ระบุไว้ในกฎหมายของประเทศอื่นๆ แม้ว่า โดยปกติห้างหุ้นส่วนจะไม่อาจจัดตั้งขึ้นโดยนักลงทุนชาวต่างชาติ เพราะความยุ่งยากที่เกิดขึ้น จากพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติปี พ.ศ. 2542 กล่าวโดยทั่วไป

อ่านต่อไป

การถือครองที่ดินกับคู่สมรสชาวต่างชาติ

ความกังวลเกี่ยวกับกฎระเบียบของรัฐบาลไทยที่เกี่ยวกับการถือครองที่ดินเป็นเรื่องของตัวแทนถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน โดยบุคคลสัญชาติไทยที่สมรสชาวต่างชาติ ภายใต้ประมวลกฎหมายที่ดิน การที่บุคคลสัญชาติไทยถือครองที่ดินในฐานะตัวแทนเพื่อประโยชน์ของชาวต่างชาติ เป็นการกระทำผิดกฎหมายทางอาญา งานเขียนโดยกรมที่ดินได้เสนอแนวทางในการพิจารณาทางกฎหมายโดยเจ้าหน้าที่กรมที่ดินเมื่อพบว่าคู่สมรสชาวไทย ถือครองที่ดินแทนคู่สมรส

อ่านต่อไป

การพัฒนาโรงแรมหรูสำหรับการให้เช่าในประเทศไทย

กฎหมายไทยมิได้กำหนดให้ต้องจดทะเบียนโครงการอาคารชุดภายใต้ พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ดังนั้นรูปแบบโครงการที่ได้รับความนิยม บริเวณพื้นที่รีสอร์ทของประเทศไทยก็คือ อาคารชุดที่ยังไม่ได้รับการจดทะเบียน ซึ่งมักจะดำเนินการโครงการเป็นโรงแรมหรู โดยปกติ นักลงทุนที่ซื้อห้องชุดในโครงการดังกล่าวจะไม่ใช้เป็นที่พักอาศัยส่วนบุคคล แต่ต้องการที่จะเก็บค่าเช่าจากการให้เช่าห้องชุดระยะสั้นนั้นๆ

อ่านต่อไป

ความรับผิดชอบของหุ้นส่วนจำกัดในประเทศไทย

ลักษณะเฉพาะของห้างหุ้นส่วนจำกัดภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยคือ การแบ่งแยกระหว่างหุ้นส่วนผู้รับผิดจำกัดกับหุ้นส่วนผู้จัดการ แตกต่างจากห้างหุ้นส่วนสามัญ ซึ่งหุ้นส่วนทั้งหมดรับผิดในหนี้สินร่วมกันอย่างไม่จำกัด ในห้างหุ้นส่วนจำกัด หุ้นส่วนผู้จัดการหรือหุ้นส่วนอื่นจะถูกสันนิฐานว่ารับผิดในหนี้สินร่วมกันโดยไม่จำกัด ในขณะที่หุ้นส่วนจำกัดความรับผิดจะรับผิดเฉพาะจำนวนเงินที่พวกเขาลงหุ้นเท่านั้น อย่างไรก็ตาม มีข้อยกเว้นที่สำคัญซึ่งหุ้นส่วนจำกัด

อ่านต่อไป

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับสนธิสัญญาทางไมตรี

จุดประสงค์ของบทความนี้ คือการตอบคำถามที่มักถูกยกมาถามเป็นประเด็น โดยลูกความอันเกี่ยวกับสนธิสัญญาทางไมตรี ระหว่างราชอาณาจักรไทย-สหรัฐอเมริกา ที่อนุญาตให้พลเมืองและบริษัทสัญชาติสหรัฐฯ ได้รับการยกเว้นจากข้อจำกัดส่วนใหญ่แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของชาวต่างชาติ พ.ศ. 2542 แม้ว่าความหมายของสนธิสัญญาทางไมตรีนั้นค่อนข้างจะตรงไปตรงมา

อ่านต่อไป

Search the blog